ภาษีธุรกิจเฉพาะ
เป็นภาษีที่จัดเก็บจากการบริโภคหรือจากการใช้บริการเฉพาะอย่าง เมื่อเสียภาษีธุรกิจเฉพาะแล้วก็จะไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มอีก
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะคือ
1.บุคคลธรรมดา
2.คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
3.ห้างหุ้นส่วนจำกัด
4.บริษัท
5.นิติบุคคลอื่น เช่นสมาคม มูลนิธิ
การประกอบการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ มาตรา 91/2
1. การธนาคาร
2.การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์
3.การประกันชีวิต
4.การรับจำนำ
5.การประกอบการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์
6.การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางการค้าหรือหากำไร
7.การขายหลักทรัพย์ ตามกฎหมายตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
8.กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์
9.การประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริง
10.การประกอบธุรกิจบัตรเครดิต
กิจการที่ได้รับยกเว้น
1.ธนาคารของรัฐ
2.บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรม
3.สหกรณ์ออมทรัพย์
4.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
5.การเคหะแห่งชาติ
6.โรงรับจำนำ
7.อื่นๆตามพระราชกฤษฎีกา
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3195/2567
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3195/2567 โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ให้รับผิดตามสัญญาเช่าซื้อ หลังจากจำเลยที่ 1 ทำสัญญาได้ชำระค่าเช่าซื้อ...
-
จากข้อเท็จจริง ขาวยิงแดงตายโดยคิดว่าแดงเป็นหมูป่า ซึ่งหลบอยู่หลังพุ่มไม้ แม้ขาวไม่ผิดฐานฆ่าแดงตายโดยเจตนา ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 288 เพราะ...
-
คำพิพากษาฎีกาที่ 712/2557 จำเลย ประกอบธุรกิจจัดสรรที่ดิน ทราบดีว่าที่ดินมีแนวสายไฟฟ้าแรงสูงพาดผ่านไม่อาจปลูกสร้างบ้านในที่ดินเต็มเนื้อที่ ...
-
ในสัญญาเช่า มักมีข้อความว่า ผู้เช่าสัญญาว่าจะจัดการดูแลรักษาทรัพย์สินที่เช่าให้อยู่ในสภาพที่เรียบร้อยและบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น