ข้อความในคำบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่
มาตรา 1175 คำบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่นั้น ให้ระบุสถานที่ วัน เวลา และสภาพแห่งกิจการที่จะได้ประชุมปรึกษากัน และในกรณีที่เป็นคำบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่เพื่อลงมติพิเศษให้ระบุข้อความที่จะนำเสนอให้ลงมติด้วย
จากมาตรานี้ ข้อความในคำบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่
1.ให้ระบุสถานที่ วัน เวลา
2.สภาพแห่งกิจการที่จะได้ประชุมปรึกษากัน คือระเบียบวาระที่จะประชุมกันมีเรื่องอะไรบ้าง
3.ประชุมเพื่อลงมติพิเศษ ก็ให้ระบุข้อความที่จะนำเสนอให้ลงมติพิเศษด้วย
วันเสาร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วันศุกร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ข้อความในคำบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่
ข้อความในคำบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่
มาตรา 1175 คำบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่นั้น ให้ระบุสถานที่ วัน เวลา และสภาพแห่งกิจการที่จะได้ประชุมปรึกษากัน และในกรณีที่เป็นคำบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่เพื่อลงมติพิเศษให้ระบุข้อความที่จะนำเสนอให้ลงมติด้วย
จากมาตรานี้ ข้อความในคำบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่
1.ให้ระบุสถานที่ วัน เวลา
2.สภาพแห่งกิจการที่จะได้ประชุมปรึกษากัน คือระเบียบวาระที่จะประชุมกันมีเรื่องอะไรบ้าง
3.ประชุมเพื่อลงมติพิเศษ ก็ให้ระบุข้อความที่จะนำเสนอให้ลงมติพิเศษด้วย
มาตรา 1175 คำบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่นั้น ให้ระบุสถานที่ วัน เวลา และสภาพแห่งกิจการที่จะได้ประชุมปรึกษากัน และในกรณีที่เป็นคำบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่เพื่อลงมติพิเศษให้ระบุข้อความที่จะนำเสนอให้ลงมติด้วย
จากมาตรานี้ ข้อความในคำบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่
1.ให้ระบุสถานที่ วัน เวลา
2.สภาพแห่งกิจการที่จะได้ประชุมปรึกษากัน คือระเบียบวาระที่จะประชุมกันมีเรื่องอะไรบ้าง
3.ประชุมเพื่อลงมติพิเศษ ก็ให้ระบุข้อความที่จะนำเสนอให้ลงมติพิเศษด้วย
การประชุมวิสามัญ
การประชุมวิสามัญ
เป็นการประชุมใหญ่ครั้งอื่นๆ อาจมีข้อบังคับกำหนดไว้ มีเรื่องรีบด่วนที่ต้องให้ที่ประชุมวินิจฉัย
โดยมาตรา 1172 , 1173 , 1174 ,1211 วางหลักไว้ให้เรียประชุมได้ด้วย
คือ
*กรรมการเห็นสมควร
มาตรา 1172 วรรคแรก บัญญัติว่า กรรมการจะเรียกประชุมวิสามัญเมื่อใดก็ได้สุดแต่จะเห็นสมควร
*เมื่อบริษัทขาดทุนถึงกึ่งจำนวนต้นทุน
มาตรา 1172 วรรคสอง บัญญัติว่า ถ้าบริษัทขาดทุนลงถึงกึ่งจำนวนต้นทุนกรรมการต้องเรียกประชุมวิสามัญทันทีเพื่อแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบการที่ขาดทุนนั้น (ไม่เรียกมีความผิด ตาม มาตรา 27 ตามพระราชบัญญติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนฯ)
*เมื่อผู้ถือหุ้นมีจำนวนหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าแห่งจำนวนหุ้นบริษัท ขอให้เรียกประชุม
มาตรา 1173 การประชุมวิสามัญจะต้องนัดเรียกให้มีขึ้นในเมื่อผู้ถือหุ้นมีจำนวนหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าแห่งจำนวนหุ้นของบริษัท ได้เข้าชื่อกันทำหนังสือร้องขอให้เรียกประชุมเช่นนั้นในหนังสือร้องขอนั้นต้องระบุว่าประสงค์ให้เรียกประชุมเพื่อการใด
มาตรา 1174 เมื่อผู้ถือหุ้นยื่นคำร้องขอให้เรียกประชุมวิสามัญดั่งได้กล่าวมาในมาตราก่อนนี้แล้ว ให้กรรมการเรียกประชุมโดยพลัน
ถ้ากรรมการมิได้เรียกประชุมภายในสามสิบวันนับแต่วันยื่นคำร้องไซร้ ผู้ถือหุ้นทั้งหลายซึ่งเป็นผู้ร้อง หรือผู้ถือหุ้นคนอื่นๆรวมกันได้จำนวนดั่งบังคับไว้นั้นจะเรียกประชุมเองก็ได้
*เมื่อผู้สอบบัญชีว่างลง
มาตรา 1211 ถ้ามีตำแหน่งว่างลงในจำนวนผู้สอบบัญชีให้กรรมการนัดเรียกประชุมวิสามัญ เพื่อให้เลือกตั้งขึ้นใหม๋ให้ครบจำนวน
เป็นการประชุมใหญ่ครั้งอื่นๆ อาจมีข้อบังคับกำหนดไว้ มีเรื่องรีบด่วนที่ต้องให้ที่ประชุมวินิจฉัย
โดยมาตรา 1172 , 1173 , 1174 ,1211 วางหลักไว้ให้เรียประชุมได้ด้วย
คือ
*กรรมการเห็นสมควร
มาตรา 1172 วรรคแรก บัญญัติว่า กรรมการจะเรียกประชุมวิสามัญเมื่อใดก็ได้สุดแต่จะเห็นสมควร
*เมื่อบริษัทขาดทุนถึงกึ่งจำนวนต้นทุน
มาตรา 1172 วรรคสอง บัญญัติว่า ถ้าบริษัทขาดทุนลงถึงกึ่งจำนวนต้นทุนกรรมการต้องเรียกประชุมวิสามัญทันทีเพื่อแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบการที่ขาดทุนนั้น (ไม่เรียกมีความผิด ตาม มาตรา 27 ตามพระราชบัญญติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนฯ)
*เมื่อผู้ถือหุ้นมีจำนวนหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าแห่งจำนวนหุ้นบริษัท ขอให้เรียกประชุม
มาตรา 1173 การประชุมวิสามัญจะต้องนัดเรียกให้มีขึ้นในเมื่อผู้ถือหุ้นมีจำนวนหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าแห่งจำนวนหุ้นของบริษัท ได้เข้าชื่อกันทำหนังสือร้องขอให้เรียกประชุมเช่นนั้นในหนังสือร้องขอนั้นต้องระบุว่าประสงค์ให้เรียกประชุมเพื่อการใด
มาตรา 1174 เมื่อผู้ถือหุ้นยื่นคำร้องขอให้เรียกประชุมวิสามัญดั่งได้กล่าวมาในมาตราก่อนนี้แล้ว ให้กรรมการเรียกประชุมโดยพลัน
ถ้ากรรมการมิได้เรียกประชุมภายในสามสิบวันนับแต่วันยื่นคำร้องไซร้ ผู้ถือหุ้นทั้งหลายซึ่งเป็นผู้ร้อง หรือผู้ถือหุ้นคนอื่นๆรวมกันได้จำนวนดั่งบังคับไว้นั้นจะเรียกประชุมเองก็ได้
*เมื่อผู้สอบบัญชีว่างลง
มาตรา 1211 ถ้ามีตำแหน่งว่างลงในจำนวนผู้สอบบัญชีให้กรรมการนัดเรียกประชุมวิสามัญ เพื่อให้เลือกตั้งขึ้นใหม๋ให้ครบจำนวน
การประชุมสามัญ
การประชุมสามัญ
มาตรา 1171 วรรคแรก บัญญัติว่า ให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นทั่วไปเป็นประชุมใหญ่ภายในหกเดือนนับแต่วันที่ได้จดทะเบียนบริษัท และต่อนั้นไปก็ให้มีการประชุมเช่นนี้ครั้งหนึ่งเป็นอย่างน้อยทุกระยะเวลาสิบสองเดือน
***เป็นบทบังคับเด็ดขาด ฝ่าฝืนเป็นความผิดทางอาญาตามพระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคมและมูลนิธิ พ.ศ.2499 มาตรา 16 และ 25 บริษัทอาจถูกปรับไม่เกินสองหมื่นบาท กรรมการอาจถูกปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
มาตรา 1171 วรรคแรก บัญญัติว่า ให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นทั่วไปเป็นประชุมใหญ่ภายในหกเดือนนับแต่วันที่ได้จดทะเบียนบริษัท และต่อนั้นไปก็ให้มีการประชุมเช่นนี้ครั้งหนึ่งเป็นอย่างน้อยทุกระยะเวลาสิบสองเดือน
***เป็นบทบังคับเด็ดขาด ฝ่าฝืนเป็นความผิดทางอาญาตามพระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคมและมูลนิธิ พ.ศ.2499 มาตรา 16 และ 25 บริษัทอาจถูกปรับไม่เกินสองหมื่นบาท กรรมการอาจถูกปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
วันอังคารที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ผู้มีสิทธิลงมติในที่ประชุมบริษัท
ผู้มีสิทธิลงมติในที่ประชุมบริษัท
มาตรา 1109 วรรคแรก ผู้เริ่มก่อการและผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นที่เข้าร่วมประชุม หรือผู้รับมอบฉันทะย่อมมีสิทธิลงมติในที่ประชุมในปัญหาใดๆก็ได้ เว้นแต่ตนจะมีส่วนได้เสียเป็นพิเศาในปัญหานั้นๆ
มาตรา 1109 วรรคแรก ผู้เริ่มก่อการและผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นที่เข้าร่วมประชุม หรือผู้รับมอบฉันทะย่อมมีสิทธิลงมติในที่ประชุมในปัญหาใดๆก็ได้ เว้นแต่ตนจะมีส่วนได้เสียเป็นพิเศาในปัญหานั้นๆ
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อบังคับหรือหนังสือบริคณห์สนธิ
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อบังคับหรือหนังสือบริคณห์สนธิ
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อบังคับหรือหนังสือบริคณห์สนธิจะทำได้ต่อเมื่อมีมติพิเศษของที่ประชุมใหญ่
-ตามมาตรา 1145 จำเดิมแต่ได้จดทะเบียนบริษัทแล้ว ท่านห้ามมิให้ ตั้งข้อบังคับขึ้นใหม่ หรือเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงข้อบังคับหรือข้อความใน หนังสือบริคณห์สนธิแต่อย่างหนึ่งอย่างใด เว้นแต่จะได้มีการลงมติพิเศษ
และจะต้องจดทะเบียนภายใน 14 วัน
-ตามมาตรา 1146 บรรดาข้อบังคับอันได้ตั้งขึ้นใหม่ หรือได้เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลงนั้น เป็นหน้าที่ของบริษัทที่จะจัดให้ไปจดทะเบียนภายใน กำหนดสิบสี่วันนับแต่วันที่ได้มีการลงมติพิเศษ
หากฝ่าฝืนมีความผิดตามพระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคมและมูลนิธิ พ.ศ.2499 มาตรา 13 มีความผิดปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อบังคับหรือหนังสือบริคณห์สนธิจะทำได้ต่อเมื่อมีมติพิเศษของที่ประชุมใหญ่
-ตามมาตรา 1145 จำเดิมแต่ได้จดทะเบียนบริษัทแล้ว ท่านห้ามมิให้ ตั้งข้อบังคับขึ้นใหม่ หรือเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงข้อบังคับหรือข้อความใน หนังสือบริคณห์สนธิแต่อย่างหนึ่งอย่างใด เว้นแต่จะได้มีการลงมติพิเศษ
และจะต้องจดทะเบียนภายใน 14 วัน
-ตามมาตรา 1146 บรรดาข้อบังคับอันได้ตั้งขึ้นใหม่ หรือได้เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลงนั้น เป็นหน้าที่ของบริษัทที่จะจัดให้ไปจดทะเบียนภายใน กำหนดสิบสี่วันนับแต่วันที่ได้มีการลงมติพิเศษ
หากฝ่าฝืนมีความผิดตามพระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคมและมูลนิธิ พ.ศ.2499 มาตรา 13 มีความผิดปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
การเพิ่มทุน
การเพิ่มทุน
1.เพิ่มทุนโดยการออกหุ้นใหม่ มาตรา 1220 บริษัทจำกัดอาจเพิ่มทุนของบริษัทขึ้นได้ด้วยออกหุ้นใหม่โดยมติพิเศษของที่ประชุมผู้ถือหุ้น
2.ต้องมีมติพิเศษของที่ประชุมใหญ่
3.บรรดาหุ้นที่ออกใหม่ ต้องเสนอให้แก่ผู้ถือหุ้นทั้งหลายตามส่วนจำนวนหุ้นที่เขาถือ มาตรา 1222 วรรคหนึ่ง
1.เพิ่มทุนโดยการออกหุ้นใหม่ มาตรา 1220 บริษัทจำกัดอาจเพิ่มทุนของบริษัทขึ้นได้ด้วยออกหุ้นใหม่โดยมติพิเศษของที่ประชุมผู้ถือหุ้น
2.ต้องมีมติพิเศษของที่ประชุมใหญ่
3.บรรดาหุ้นที่ออกใหม่ ต้องเสนอให้แก่ผู้ถือหุ้นทั้งหลายตามส่วนจำนวนหุ้นที่เขาถือ มาตรา 1222 วรรคหนึ่ง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
คำพิพากษาฎีกาที่ 11/2561 บวกโทษ
คำพิพากษาฎีกาที่ 11/2561 ความปรากฎต่อศาลตามคำฟ้องของโจทก์และคำให้การของจำเลยว่า ภายในเวลาที่ศาลรอการลงโทษให้จำเลย จำเลยได้กระทำความผิ...
-
จากข้อเท็จจริง ขาวยิงแดงตายโดยคิดว่าแดงเป็นหมูป่า ซึ่งหลบอยู่หลังพุ่มไม้ แม้ขาวไม่ผิดฐานฆ่าแดงตายโดยเจตนา ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 288 เพราะ...
-
คำพิพากษาฎีกาที่ 712/2557 จำเลย ประกอบธุรกิจจัดสรรที่ดิน ทราบดีว่าที่ดินมีแนวสายไฟฟ้าแรงสูงพาดผ่านไม่อาจปลูกสร้างบ้านในที่ดินเต็มเนื้อที่ ...
-
เมื่อโจกท์ต้องการยื่นคำร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์ แต่เกิดปัญหา ในกรณีมีการขออนุญาตขยายระยะเวลาอุทธรณ์หรือระยะเวลายื่นคำขออนุญาตอุทธรณ์ แต่...